โลกของแฟชั่นอาจจะเป็นวงการที่ใช้วัสดุสิ้นเปลือง เมื่อเทรนด์เก่าผ่านไปก็โดนโละทิ้งและแทนที่ด้วยเทรนด์ใหม่อย่างไม่มีวันรู้จบ ทางสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส, สถาบันเกอเธ่, สถานเอกอัครราชทูตอิตาลี, สถานเอกอัครราชทูตราชอณาจักรสเปน และศูนย์วัฒนธรรมโปรตุเกสกรุงเทพ – Instituto Camões ซึ่งเป็นสมาชิกของ EUNIC จำนวน 5 รายจึงเล็งเห็นโอกาสที่พัฒนาจะโครงการเฉพาะด้านการออกแบบแฟชั่น “Mannequin 5”กับวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะวิจิตรศิลป์ โดยให้นักศึกษาไทย 10 คน และนักศึกษาชาวยุโรป 5 คน มาร่วมประชันผลงานที่รังสรรค์จากวัสดุรีไซเคิล
การเวิร์คช็อปครั้งนี้กลุ่มเครื่อข่าย EUNIC กรุงเทพ จะกำหนดตารางเวลาในการทำงานร่วมกันเพื่อให้นักศึกษาแฟชั่นชาวยุโรปเข้าร่วมกิจกรรมกับนักศึกษาออกแบบแฟชั่นในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความร่วมมืออย่างยั่งยืนบนพื้นฐานการขยายตัวของกลุ่มและการและเปลี่ยนกันระหว่างนานาชาติ ในขณะเดียวกันก็เพื่อเป็นการแสดงให้เห็นถึงรูปแบบของการพัฒนาที่ยั่งยืน
กระบวนการ:
5 นักศึกษาชาวยุโรป และ 10 นักศึกษาชาวไทย:
จับคู่กับ 5 คู่ / 5 หุ่นจำลอง
โรงเรียนจากฝั่งยุโรปที่เข้าร่วม
ฝรั่งเศส : Chardon Savard
เยอรมนี : Haw Hamburg
อิตาลี : Accademia Italiana Di Firenze
โปรตุเกส : Faculdade de Belas-Artes Universidade de Lisboa
สเปน : Centro Superior de Diseno de moda de Madrid เวิร์คช็อปนี้จะจัดขึ้น 1 ครั้งภายในวันที่ 15 ณ อาคาร CAT Tower
ทีมยุโรป / ไทยต้องทำงานและผลิตเสื้อผ้าหรือเครื่องประดับ โดยความท้ายทายอยู่ที่การใช้วัสดุรีไซเคิลมาสร้างสรรค์ผลงานเพียงหนึ่งชิ้นที่พวกเขาจะออกแบบ (กระเป๋า รองเท้า ผ้าพันคอ เครื่องประดับ เป็นต้น)
นักศึกษาจะได้รับการฝึกฝนโดยผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ดร.อนุกูล บูรณประพฤกษ์ และ อาจารย์ ปิยะวัฒน์ พัฒนภักดี 5 หุ่นจำลอง:
คู่ 1: ฝรั่งเศส – ไทย
คู่ 2: เยอรมัน – ไทย
คู่ 3: อิตาเลียน – ไทย
คู่ 4: โปรตุเกส – ไทย
คู่ 5: สเปน – ไทย วันที่ 1
การนำเสนอทั่วไป, แนวทางสำหรับโครงการและนักเรียนแต่ละคนนำเสนอโรงเรียนและการทำงานของพวกเขา
แถวบนจากซ้ายไปขวา
Mariana Campos (โปรตุเกส), Alicia Jordan (สเปน), Hilke Scholz (เยอรมนี), Catenira Vanturelli (อิตาลี), Jirapha Laksanawisit, Sasicha Howcharoen, Porntip Pluemjai, Harshita Patel, Natakorn Daowattanakit, Poonsiri Sanubol, Pairwa Toogjit
แถวล่างจากซ้ายไปขวา
Nattapong Kongruk, Victor Martin (ฝรั่งเศส), Yanissa Kittisommanakun, Naiyanat Sornratanachai
พวกเขาได้พบกับอาจารย์ที่ดูแลการจัดเวิร์คช็อป : Anugoon Buranaprapuk & Piyawat Pattanapuckdee



วันที่ 2

หุ่นที่ CAT Tower นักเรียนพบสถานที่ทำงาน
วันที่ 3 สเก็ตช์และการเลือกซื้อวัสดุ
วันที่ 4
30 มือในที่ทำงาน
วันที่ 4
อาจารย์ ปิยะวัฒน์ พัฒนภักดี พบปะและหารือกับนักศึกษา

หลังจากทำงานแล้วพวกเขาก็ได้เยี่ยมชม Pure Gold Upcycled ! upgraded ! Exhibition (ศูนย์การออกแบบและวัฒนธรรมแห่งประเทศไทย) ร่วมกับสถาบันเกอเธ่และสถานเอกอัครราชทูตเยอรมนี


หุ่นจะถูกนำเสนอต่อสื่อมวลชนที่ Residence de France ในวันเสาร์ที่ 16 มิถุนายน ส่วนนิทรรศการจะจัดที่สมาคมฝรั่งเศสภายในหนึ่งสัปดาห์ในวันที่ 18 มิถุนายน รวมถึงในศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตยุโรปและงานแสดงสินค้าทั้งหมดของไทยที่เกี่ยวข้องกับแฟชั่น
5 นักศึกษาชาวยุโรป และ 10 นักศึกษาชาวไทย:
จับคู่กับ 5 คู่ / 5 หุ่นจำลอง
โรงเรียนจากฝั่งยุโรปที่เข้าร่วม
ฝรั่งเศส : Chardon Savard
เยอรมนี : Haw Hamburg
อิตาลี : Accademia Italiana Di Firenze
โปรตุเกส : Faculdade de Belas-Artes Universidade de Lisboa
สเปน : Centro Superior de Diseno de moda de Madrid เวิร์คช็อปนี้จะจัดขึ้น 1 ครั้งภายในวันที่ 15 ณ อาคาร CAT Tower
ทีมยุโรป / ไทยต้องทำงานและผลิตเสื้อผ้าหรือเครื่องประดับ โดยความท้ายทายอยู่ที่การใช้วัสดุรีไซเคิลมาสร้างสรรค์ผลงานเพียงหนึ่งชิ้นที่พวกเขาจะออกแบบ (กระเป๋า รองเท้า ผ้าพันคอ เครื่องประดับ เป็นต้น)
นักศึกษาจะได้รับการฝึกฝนโดยผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ดร.อนุกูล บูรณประพฤกษ์ และ อาจารย์ ปิยะวัฒน์ พัฒนภักดี 5 หุ่นจำลอง:
คู่ 1: ฝรั่งเศส – ไทย
คู่ 2: เยอรมัน – ไทย
คู่ 3: อิตาเลียน – ไทย
คู่ 4: โปรตุเกส – ไทย
คู่ 5: สเปน – ไทย วันที่ 1
การนำเสนอทั่วไป, แนวทางสำหรับโครงการและนักเรียนแต่ละคนนำเสนอโรงเรียนและการทำงานของพวกเขา
แถวบนจากซ้ายไปขวา
Mariana Campos (โปรตุเกส), Alicia Jordan (สเปน), Hilke Scholz (เยอรมนี), Catenira Vanturelli (อิตาลี), Jirapha Laksanawisit, Sasicha Howcharoen, Porntip Pluemjai, Harshita Patel, Natakorn Daowattanakit, Poonsiri Sanubol, Pairwa Toogjit
แถวล่างจากซ้ายไปขวา
Nattapong Kongruk, Victor Martin (ฝรั่งเศส), Yanissa Kittisommanakun, Naiyanat Sornratanachai





วันที่ 3 สเก็ตช์และการเลือกซื้อวัสดุ

30 มือในที่ทำงาน

อาจารย์ ปิยะวัฒน์ พัฒนภักดี พบปะและหารือกับนักศึกษา



